วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ขอเชิญร่วมงาน ๑๔๐ ปี ความสัมพันธ์ ไทย-อิตาลี

ณ หอศิลป์กรุงเทพฯ ระหว่างวันพฤหัสบดีที่ ๑๘ และ ศุกร์ ที่ ๑๙ มิถุนายน
ดูรายละเอียดได้ที่นี่ครับ
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ร่วมกับ
สถาบัน Institute for Advanced Asian Studies (CESMEO ตูริน)
สถานเอกอัครราชทูตอิตาลี ในประเทศไทย และสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโรม
เสนอ
การประชุมวิชาการนานาชาติ
“140 ปี ความสัมพันธ์ไทย-อิตาลี”
วันที่ 18-19 มิถุนายน พ.ศ. 2552 เวลา 10.00-17.00 น.
ณ ห้องประชุมใหญ่ “Auditorium” ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2552
10.00 – 10.30 น. ลงทะเบียน พร้อมรับของว่างและเครื่องดื่ม “เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม”
10.30 – 10.35 น. กล่าวต้อนรับโดย คณบดี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10.35 – 10.40 น. กล่าวเปิดการประชุมโดย ฯพณฯ ท่านเอกอัครราชทูตอิตาลี ประจำประเทศไทย
10.40 – 10.45 น. กล่าวเปิดการประชุมโดย อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10.45 – 10.50 น. กล่าวรายงานโดย ผู้แทนจากสถาบัน Institute for Advanced Asian Studies (CESMEO ตูริน)
10.50 – 10.55 น. กล่าวรายงานการจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ 140 ปี ความสัมพันธ์ไทย-อิตาลีโดย หัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10.55 – 11.00 น. อาเรีย “Voi lo sapete, o mamma” จากอุปรากร เรื่อง Cavalleria Rusticana
โดย นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11.00 – 11.30 น. การแสดงปาฐกถาพิเศษโดย คุณเปาลา โปลิโดริ คีนิ


กลุ่มที่ 1: Scenario of Art สยาม-อิตาลี
11.30 – 12.00 น. รอยอาลัยกับภาพความทรงจำแห่งตะวันออก
การออกแบบฉากมหาอุปรากร “ตูรันดอท” (Turandot) โดย กาลิเลโอ คีนิ
โดย คลาวเดีย เมนีคีนิ
13.30 – 14.00 น. กาลิเลโอ คีนิ – ศิลปินอิตาเลียนในสยาม
ผลงานอันโดดเด่นในอิตาลีหลังประสบการณ์ที่บางกอก
โดย เอลิซาเบธ รียานิ
14.00 – 14.30 น. ศิลปะอิตาเลียนในมิติวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์สยาม
โดย ผศ.ดร. หนึ่งฤดี โลหผล

กลุ่มที่ 2: มิติเชิงเปรียบเทียบในภาษาและวรรณกรรมอิตาเลียน
14.30 – 15.00 น. ความสำคัญของภาษาตระกูลลาตินในการแปลศัพท์พระพุทธศาสนา:
กรณีศึกษา “สังเวคะ” (saṃvega)
โดย คลาวดิโย ชิกุซซา
15.00 – 15.30 น. การแปลวรรณกรรมอิตาเลียนในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
โดย รศ. ชัตสุณี สินธุสิงห์
15.30 – 15.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.45 – 16.30 น. เสวนาร่วมกับคุณมกุฏ อรฤดี และ รศ. ชัตสุณี สินธุสิงห์
เรื่อง งานวรรณกรรมอิตาเลียนในประเทศไทยกับ “ผีเสื้ออิตาลี”
16.30 น. พิธีเปิดการแสดงศิลปะร่วมสมัย “ฤดูใบไม้ผลิสีขาว” ณ ชั้น 7
งานเลี้ยงรับรอง “เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม”



วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2552
กลุ่มที่ 3: หลากมิติในยุคร่วมสมัย
10.00 – 10.30 น. ฟิวเจอริสม์อิตาเลียนและศิลปะการโฆษณา: กรณีศึกษางานของ “ เดเปโร”
โดย ลูก้า เด มอรี
10.30 – 11.00 น. “หนึ่งฉาก” จากฝีมือประติมากรชาวอิตาเลียนในประเทศไทย
โดย เอมานูเยเล เด เรจจี
11.00 – 12.00 น. เสวนาร่วมกับวิตตอเรีย บียาซิ อัมฤทธิ์ ชูสุวรรณ และคณะ
เรื่อง งานแสดงศิลปะร่วมสมัย “ฤดูใบไม้ผลิสีขาว”

กลุ่มที่ 4: มองวัฒนธรรมผ่านภาพยนตร์อิตาเลียน
13.30 – 14.00 น. บทและประเด็นปัญหาในภาพยนตร์อิตาเลียนร่วมสมัย
โดย สเตฟาโน โตดีนิ
14.00 – 14.30 น. เมื่อเสิร์ฟพาสต้าจานร้อนบนแผ่นฟิล์ม....
โดย อาจารย์ปาจรีย์ ทาชาติ
14.30 – 15.00 น. ความสามัคคีและอัตลักษณ์ความเป็นชาติในยุคแรกของภาพยนตร์อิตาเลียน
โดย เอลิโย เด คาโรลิส
15.00 – 15.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.30 น. ปิดการประชุม พร้อมกับการฉายภาพยนตร์เรื่องแรก
ในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อิตาเลียน “La Presa di Roma”

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น